วันพฤหัสบดีที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2554
วันศุกร์ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2554
วันพฤหัสบดีที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2554
วันอังคารที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2554
แหล่งรวมโหลดพรี psd file
ตามลิงค์เลยครับ
http://365psd.com
http://designinstruct.com/
http://www.psdgraphics.com/
http://www.photoshopfiles.com/
http://downloadpsd.com/
http://freepsd.com/
http://www.tutorial9.net/
http://browse.deviantart.com/?order=15&q=psd
http://www.graphicsfuel.com/
http://www.psgalaxy.com/
http://sixrevisions.com/category/tutorials/
http://psdvibe.com/category/photoshop/
http://abduzeedo.com/tags/photoshop
http://devisefunction.com/category/tutorials/
http://psdho.me/
http://freebiespress.com/category/psd/
http://freepsdtheme.com/
http://www.web3mantra.com/category/photoshop/psd-photoshop/
http://www.net-kit.com/category/templates/
http://aaronovadia.com/clients/photoshopit/freebies.htm
http://www.fordesigner.com/maps_list/list24-1.htm
http://www.free4photoshop.com/pgs/psd_files/free_psd_files.html
http://dezignus.com/category/psd/
http://www.smashingmagazine.com/category/freebies/
http://freepsdfiles.com/
http://www.dezinerfolio.com/downloads
http://365psd.com
http://designinstruct.com/
http://www.psdgraphics.com/
http://www.photoshopfiles.com/
http://downloadpsd.com/
http://freepsd.com/
http://www.tutorial9.net/
http://browse.deviantart.com/?order=15&q=psd
http://www.graphicsfuel.com/
http://www.psgalaxy.com/
http://sixrevisions.com/category/tutorials/
http://psdvibe.com/category/photoshop/
http://abduzeedo.com/tags/photoshop
http://devisefunction.com/category/tutorials/
http://psdho.me/
http://freebiespress.com/category/psd/
http://freepsdtheme.com/
http://www.web3mantra.com/category/photoshop/psd-photoshop/
http://www.net-kit.com/category/templates/
http://aaronovadia.com/clients/photoshopit/freebies.htm
http://www.fordesigner.com/maps_list/list24-1.htm
http://www.free4photoshop.com/pgs/psd_files/free_psd_files.html
http://dezignus.com/category/psd/
http://www.smashingmagazine.com/category/freebies/
http://freepsdfiles.com/
http://www.dezinerfolio.com/downloads
เทคนิคการคิดค้นและสร้างเสียงประกอบด้วยตนเอง
1. ในขั้นตอน การทำเสียงประกอบนั้น เราไม่จำเป็นต้องใช้เสียงที่เหมือนจริงที่สุด แต่หากเป็นการใช้เสียงที่คล้ายคลึง และสร้างอารมณ์ให้กับภาพ เหตุการณ์มากที่สุด
2. ทำการศึกษาพื้นผิวของวัตถุ ข้อดีของแต่ละวัตถุ แต่ละอย่าง ลองทดสอบลักษณะเสียงที่เกิดจากวัตถุนั้น เนื่องจากว่าเสียงที่เกิดจากวัตถุคล้ายกันมักใช้ทดแทนกันได้ อาทิเช่น เสียงเคาะโต๊ะอาจใช้แทนการเคาะประตู เป็นต้น
3. คำนึงถึง ความเหมาะสมของเสียงประกอบ ว่าควรใช้ช่วงเวลา จังหวะไหน เนื่องจากเสีงยแต่ละชนิดมีความแตกต่างกันออกไป อาทิเช่น เสียงที่เกิดขึ้นในบ้าน ป่า โกดัง หรือท้องถนนจะมีผลต่อลักษณะเสียง เช่น ระดับความกังวาน ระยะการเดินทางของเสียง เป็นต้น
ถ้าเพื่อนๆ อยากได้เสียงประกอบมาใช้กับหนังแบบไม่ซ้ำใครก็เตรียมหยิบเครื่องอัดเสียงขึ้นมาปัดฝุ่นได้เลย เพราะเรากำลังจะแนะนำเทคนิคการทำเสียงประกอบแบบง่ายๆ พร้อมเผยเคล็ดลับตัวอย่างเสียงที่ทำเองง่ายๆ 8 เสียง
8 เสียงประกอบแบบที่สามารถทำเองด้วยตัวเองได้
1. เสียงฟ้าร้อง
อุปกรณ์ที่ใช้: แผ่นสแตนเลส
ระยะห่างของไมค์: จ่อตรงข้ามกับด้านที่ทุบ
วิธีทำ: จับยึดแผ่นสแตนเลสไว้ให้มั่นคงในแนวตั้ง เมื่อทุบลงไป ก็จะได้เสียงทุ้มกังวานดั่งฟ้าคำราม ที่สำคัญวัสดุมีขนาดใหญ่ เสียงจะทุ้มยิ่งขึ้น อาทิ เคาะประตูที่ทำจากแผ่นโลหะก็ได้เช่นกัน
2. เสียงปลอกกระสุน
อุปกรณ์ที่ใช้: ปากกาโลหะแบบกด
ระดับห่างของไมค์: จ่อใกล้กับหัวกดปากกา
วิธีทำ: เสียงกดและการดีดตัวของสปริงปากกานั้น ที่เสียดสีกับด้ามโลหะทำให้เสียงคล้ายกลไกปืน อาทิ เสียงเหนี่ยวไก
ขึ้นลำกล้อง หรือบรรจุกระสุน ได้อย่างไม่น่าเชื่อ!
3. เสียงหักกระดูก
อุปกรณ์ที่ใช้: ผักคะน้าสดๆ
ระยะห่างของไมค์: จ่อใกล้จุดการหัก
วิธีทำ:ผักคะน้ามีความกรอบแน่นตรงแกนกลาง และมีเปลือกที่เหนียวยืดหยุ่นคล้ายเนื้อมนุษย์ เมื่อหักก้านแล้ว จึงได้เสียงราวกับการแตกหักของแคลเซียมในร่างกาย
4. เสียงแก้วแตก
อุปกรณ์ที่ใช้: แก้ว, ถุงพลาสติก, เหรียบาท
8. เสียงไฟไหม้ใบไม้แห้ง
อุปกรณ์ที่ใช้: กระดาษฟอยด์
ระยะห่างของไมค์: จ่อไว้ใกล้ๆ
วิธีทำ: ทำการขยำจะได้เสียงคล้ายไฟกำลังลุกไหม้ใบไม้แห้ง
2. ทำการศึกษาพื้นผิวของวัตถุ ข้อดีของแต่ละวัตถุ แต่ละอย่าง ลองทดสอบลักษณะเสียงที่เกิดจากวัตถุนั้น เนื่องจากว่าเสียงที่เกิดจากวัตถุคล้ายกันมักใช้ทดแทนกันได้ อาทิเช่น เสียงเคาะโต๊ะอาจใช้แทนการเคาะประตู เป็นต้น
3. คำนึงถึง ความเหมาะสมของเสียงประกอบ ว่าควรใช้ช่วงเวลา จังหวะไหน เนื่องจากเสีงยแต่ละชนิดมีความแตกต่างกันออกไป อาทิเช่น เสียงที่เกิดขึ้นในบ้าน ป่า โกดัง หรือท้องถนนจะมีผลต่อลักษณะเสียง เช่น ระดับความกังวาน ระยะการเดินทางของเสียง เป็นต้น
ถ้าเพื่อนๆ อยากได้เสียงประกอบมาใช้กับหนังแบบไม่ซ้ำใครก็เตรียมหยิบเครื่องอัดเสียงขึ้นมาปัดฝุ่นได้เลย เพราะเรากำลังจะแนะนำเทคนิคการทำเสียงประกอบแบบง่ายๆ พร้อมเผยเคล็ดลับตัวอย่างเสียงที่ทำเองง่ายๆ 8 เสียง
8 เสียงประกอบแบบที่สามารถทำเองด้วยตัวเองได้
1. เสียงฟ้าร้อง
อุปกรณ์ที่ใช้: แผ่นสแตนเลส
ระยะห่างของไมค์: จ่อตรงข้ามกับด้านที่ทุบ
วิธีทำ: จับยึดแผ่นสแตนเลสไว้ให้มั่นคงในแนวตั้ง เมื่อทุบลงไป ก็จะได้เสียงทุ้มกังวานดั่งฟ้าคำราม ที่สำคัญวัสดุมีขนาดใหญ่ เสียงจะทุ้มยิ่งขึ้น อาทิ เคาะประตูที่ทำจากแผ่นโลหะก็ได้เช่นกัน
2. เสียงปลอกกระสุน
อุปกรณ์ที่ใช้: ปากกาโลหะแบบกด
ระดับห่างของไมค์: จ่อใกล้กับหัวกดปากกา
วิธีทำ: เสียงกดและการดีดตัวของสปริงปากกานั้น ที่เสียดสีกับด้ามโลหะทำให้เสียงคล้ายกลไกปืน อาทิ เสียงเหนี่ยวไก
ขึ้นลำกล้อง หรือบรรจุกระสุน ได้อย่างไม่น่าเชื่อ!
3. เสียงหักกระดูก
อุปกรณ์ที่ใช้: ผักคะน้าสดๆ
ระยะห่างของไมค์: จ่อใกล้จุดการหัก
วิธีทำ:ผักคะน้ามีความกรอบแน่นตรงแกนกลาง และมีเปลือกที่เหนียวยืดหยุ่นคล้ายเนื้อมนุษย์ เมื่อหักก้านแล้ว จึงได้เสียงราวกับการแตกหักของแคลเซียมในร่างกาย
4. เสียงแก้วแตก
อุปกรณ์ที่ใช้: แก้ว, ถุงพลาสติก, เหรียบาท
ระยะห่างของไมค์: ถือไว้ข้างบนปากแก้ว
วิธีทำ: เมื่อขึงพลาสติกไว้บนปากแก้วให้ตึง นำเหรียด้านแบนวางไว้บนพลาสติกแล้วใช้นิ้วกดลงบนเหรียจนพลาสติกขาดเราจะได้เสียงที่ดังเหมือนแก้วแตก และเหรียที่กระแทกก้นแก้วจะทำหน้าที่เสียงเศษแก้วที่กระจัดกระจาย
5. เสียงชก
อุปกรณ์ที่ใช้: หมอนหรือเบาะหนัง
ระยะห่างของไมค์: จ่อใกล้จุดที่เกิดแรงกระทบ
วิธีทำ: ใช้หมอนหรือเบาะรถยนต์ที่หุ้มด้วยหนัง เมื่อเราออกแรงทุบจะได้อารมณ์เสียงการกระทบกันของเนื้อกับเนื้อ
ยิ่งถ้าอัดเสียงในรถยนต์ด้วยแล้วจะได้คุณภาพที่ชัดยิ่งขึ้น
6. เสียงเดินลุยโคลน
อุปกรณ์ที่ใช้: กะละมัง, ผ้า
ระยะห่างของไมค์: ถือไว้เหนือกะละมัง
วิธีทำ: เทน้ำใส่กะละมัง แล้วใส่ผ้าลงไป เมื่อลองใช้มือบิด กด ขยี้ หรือขยำผ้าในน้ำเราจะได้เสียงเดินย่ำในที่เฉอะแฉะ ทั้งนี้ปริมาณน้ำและผ้าจะเป็นตัวกำหนดลักษณะเสียงที่ต่างกันด้วย
7. เสียงเดินบนพื้นหญ้า
อุปกรณ์ที่ใช้: กระดาษหนังสือพิมพ์
ระยะห่างของไมค์: ถือใกล้ๆ หรือสอดช่วงล่างกองหนังสือพิมพ์
วิธีทำ: นำหนังสือพิมพ์เก่าๆ 1/2 - 1 ฉบับมาฉีกให้เป็นเส้นเล็กๆ จากนั้นสุมให้เป็นกอง เมื่อใช้มือกดตามจังหวะการเดินก็จะได้อารมณ์การเดินบนหญ้ารก
วิธีทำ: เมื่อขึงพลาสติกไว้บนปากแก้วให้ตึง นำเหรียด้านแบนวางไว้บนพลาสติกแล้วใช้นิ้วกดลงบนเหรียจนพลาสติกขาดเราจะได้เสียงที่ดังเหมือนแก้วแตก และเหรียที่กระแทกก้นแก้วจะทำหน้าที่เสียงเศษแก้วที่กระจัดกระจาย
5. เสียงชก
อุปกรณ์ที่ใช้: หมอนหรือเบาะหนัง
ระยะห่างของไมค์: จ่อใกล้จุดที่เกิดแรงกระทบ
วิธีทำ: ใช้หมอนหรือเบาะรถยนต์ที่หุ้มด้วยหนัง เมื่อเราออกแรงทุบจะได้อารมณ์เสียงการกระทบกันของเนื้อกับเนื้อ
ยิ่งถ้าอัดเสียงในรถยนต์ด้วยแล้วจะได้คุณภาพที่ชัดยิ่งขึ้น
6. เสียงเดินลุยโคลน
อุปกรณ์ที่ใช้: กะละมัง, ผ้า
ระยะห่างของไมค์: ถือไว้เหนือกะละมัง
วิธีทำ: เทน้ำใส่กะละมัง แล้วใส่ผ้าลงไป เมื่อลองใช้มือบิด กด ขยี้ หรือขยำผ้าในน้ำเราจะได้เสียงเดินย่ำในที่เฉอะแฉะ ทั้งนี้ปริมาณน้ำและผ้าจะเป็นตัวกำหนดลักษณะเสียงที่ต่างกันด้วย
7. เสียงเดินบนพื้นหญ้า
อุปกรณ์ที่ใช้: กระดาษหนังสือพิมพ์
ระยะห่างของไมค์: ถือใกล้ๆ หรือสอดช่วงล่างกองหนังสือพิมพ์
วิธีทำ: นำหนังสือพิมพ์เก่าๆ 1/2 - 1 ฉบับมาฉีกให้เป็นเส้นเล็กๆ จากนั้นสุมให้เป็นกอง เมื่อใช้มือกดตามจังหวะการเดินก็จะได้อารมณ์การเดินบนหญ้ารก
8. เสียงไฟไหม้ใบไม้แห้ง
อุปกรณ์ที่ใช้: กระดาษฟอยด์
ระยะห่างของไมค์: จ่อไว้ใกล้ๆ
วิธีทำ: ทำการขยำจะได้เสียงคล้ายไฟกำลังลุกไหม้ใบไม้แห้ง
เพียงแค่นี้คุณก็ได้เสียงประกอบ อันแสนง่ายดายที่คุณ สามารถที่จำทำเองได้แล้วครับ
วันพฤหัสบดีที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
องค์ประกอบในการจัดฉาก
การจัดวางองค์ประกอบ (Composition) หมายถึง การจัดวางตำแหน่งขององค์ประกอบฉาก ต้องยึดหลักของความสมดุลและมีเอกภาพ ให้เหมาะสมกับพื้นที่ มุมและตำแหน่งของกล้อง ดังนั้นผู้ออกแบบฉากจำเป็นต้องทราบถึงแผนการถ่ายทำของรายการและการวาง มีความรู้ด้านการจัดองค์ประกอบ ด้วยเช่นกัน ตำแหน่งกล้องทั้งหมดเพื่อที่จะได้วางแผนจัดองค์ประกอบของฉากให้สามารถใช้งาน ได้ดีเหมือนกันหมดทุกมุม
เส้น Line หมายถึง รูปร่างโดยส่วนรวมของฉาก รวมไปถึงมิติและการมองเห็นได้ด้วยตา(Perspective)
ดังนั้นรูปร่างของฉากควรสร้างความกลมกลืนเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน(Unity) อีก ทั้งยังช่วยสร้างบรรยากาศหรืออารมณ์ของรายการได้ ซึ่งฉากที่มีการจัดเหมือนจริง ก็จะใช้เส้นหรือฉากที่มีรูปร่างธรรมดา มีมุมมองธรรมดาเพื่อให้เกิดความสมจริง เช่น ห้องก็จะเป็นรูปสี่เหลี่ยม ของที่อยู่ใกล้มักจะใหญ่กว่าของที่อยู่ไกลเป็นต้น
เส้นสามารถแบ่งออกได้ 4 ประเภทคือ
1. เส้นแนวนอน (Vertical Line)
หมายถึง เส้นที่มีลักษณะเป็นเส้นตรงตามแนวนอน จะให้เกิดความรู้สึกถึงความกว้าง และเรียบ
2. เส้นแนวตั้ง (Horizontal Line)
หมายถึง เส้นที่มีลักษณะเป็นเส้นตรงแนวดิ่งหรือแนวตั้ง จะให้เกิดความรู้สึกถึงความสูงแลความลึก
3. เส้นแนวเฉียง (Perspective Line)
หมายถึง เส้นที่มีลักษณะเป็นเส้นตรงทำมุมเป็นมุมเฉียง จะให้เกิดความรู้สึกถึงการเคลื่อนที่ การย้ำเน้น และความลึก
4. เส้นที่ไม่ใช่เส้นตรง (Cycle Line)
หมายถึง เส้นที่มีลักษณะโค้ง ไม่เป็นเส้นตรง จะให้เกิดความรู้สึกถึงความอ่อนไหว ความสับสน ความโลเล ความงุนงง และการเคลื่อนไหว
พื้นผิวTexture หมายถึง การสร้างลักษณะทางกายภาพของพื้นผิว เช่น ผิวเรียบ ผิวขรุขระ ผิวมันวาว เป็นต้น สามารถแบ่งได้ 2 วิธีคือ
1. การสร้างพื้นผิวที่มีมิติขึ้นมาจริง
2. การระบายสีหรือการวาดเพื่อให้ดูเหมือนพื้นผิวแบบต่างๆ
ดังนั้นรูปร่างของฉากควรสร้างความกลมกลืนเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน(Unity) อีก ทั้งยังช่วยสร้างบรรยากาศหรืออารมณ์ของรายการได้ ซึ่งฉากที่มีการจัดเหมือนจริง ก็จะใช้เส้นหรือฉากที่มีรูปร่างธรรมดา มีมุมมองธรรมดาเพื่อให้เกิดความสมจริง เช่น ห้องก็จะเป็นรูปสี่เหลี่ยม ของที่อยู่ใกล้มักจะใหญ่กว่าของที่อยู่ไกลเป็นต้น
เส้นสามารถแบ่งออกได้ 4 ประเภทคือ
1. เส้นแนวนอน (Vertical Line)
หมายถึง เส้นที่มีลักษณะเป็นเส้นตรงตามแนวนอน จะให้เกิดความรู้สึกถึงความกว้าง และเรียบ
2. เส้นแนวตั้ง (Horizontal Line)
หมายถึง เส้นที่มีลักษณะเป็นเส้นตรงแนวดิ่งหรือแนวตั้ง จะให้เกิดความรู้สึกถึงความสูงแลความลึก
3. เส้นแนวเฉียง (Perspective Line)
หมายถึง เส้นที่มีลักษณะเป็นเส้นตรงทำมุมเป็นมุมเฉียง จะให้เกิดความรู้สึกถึงการเคลื่อนที่ การย้ำเน้น และความลึก
4. เส้นที่ไม่ใช่เส้นตรง (Cycle Line)
หมายถึง เส้นที่มีลักษณะโค้ง ไม่เป็นเส้นตรง จะให้เกิดความรู้สึกถึงความอ่อนไหว ความสับสน ความโลเล ความงุนงง และการเคลื่อนไหว
พื้นผิวTexture หมายถึง การสร้างลักษณะทางกายภาพของพื้นผิว เช่น ผิวเรียบ ผิวขรุขระ ผิวมันวาว เป็นต้น สามารถแบ่งได้ 2 วิธีคือ
1. การสร้างพื้นผิวที่มีมิติขึ้นมาจริง
2. การระบายสีหรือการวาดเพื่อให้ดูเหมือนพื้นผิวแบบต่างๆ
สี (Color) เป็นองค์ประกอบที่สำคัญมากในการออกแบบ เพราะสีจะเป็นสิ่งที่ช่วยให้เกิดความลึก มีมิติ สร้าง
ความ สมจริง ให้อารมณ์ และสร้างจุดเด่นให้กับฉาก ดังนั้นควรเลือกใช้สีในฉากต่างๆควรมีการกำหนดและใช้อย่างถูกต้องเพื่อ ประสิทธิภาพของงาน
ความ สมจริง ให้อารมณ์ และสร้างจุดเด่นให้กับฉาก ดังนั้นควรเลือกใช้สีในฉากต่างๆควรมีการกำหนดและใช้อย่างถูกต้องเพื่อ ประสิทธิภาพของงาน
ข้อควรระวังในการใช้สีเพื่อการออกแบบ
1. ไม่ควรใช้สีขาวจัด หรือดำสนิท เพราะกล้องไม่สามารถทำงานกับความสว่างที่สูงมากๆหรือต่ำมากๆได้
2. ไม่ ควรใช้สีอ่อนเกินไป เช่น ฟ้าอ่อน เหลืองอ่อน ชมพูอ่อน หรือการใช้สีที่เข้มเกินไปเช่น แดงเข้ม น้ำเงินเข้ม หรือน้ำตาลเข้ม เพราะสีที่อ่อนเกินไปเมื่อโดนแสงจะถูกดูดกลืนไปกับสีขาว ส่วนสีที่เข้มมากๆจะถูกดูดกลืนจากสีดำ
3. ไม่ควรใช้สีสะท้อน เพราะทำให้การวัดแสงของกล้องวัดแสงอัตโนมัติไปที่สีสะท้อนตรงนั้น
4. ควร ระวังเรื่องแสงสะท้อน เช่นถ้าโต๊ะเป็นสีเขียวหรือสีขาว เมื่อโดนแสงอาจสะท้อนโดนหน้านักแสดง หรือวัตถุอื่นๆในฉากให้เกิดการเปลี่ยนสีได้ ดังนั้นจึงต้องระวังเรื่องแสงสะท้อน ทางที่ดีควรใช้สีเป็นสีขาวหม่นหรือสีเทา
1. ไม่ควรใช้สีขาวจัด หรือดำสนิท เพราะกล้องไม่สามารถทำงานกับความสว่างที่สูงมากๆหรือต่ำมากๆได้
2. ไม่ ควรใช้สีอ่อนเกินไป เช่น ฟ้าอ่อน เหลืองอ่อน ชมพูอ่อน หรือการใช้สีที่เข้มเกินไปเช่น แดงเข้ม น้ำเงินเข้ม หรือน้ำตาลเข้ม เพราะสีที่อ่อนเกินไปเมื่อโดนแสงจะถูกดูดกลืนไปกับสีขาว ส่วนสีที่เข้มมากๆจะถูกดูดกลืนจากสีดำ
3. ไม่ควรใช้สีสะท้อน เพราะทำให้การวัดแสงของกล้องวัดแสงอัตโนมัติไปที่สีสะท้อนตรงนั้น
4. ควร ระวังเรื่องแสงสะท้อน เช่นถ้าโต๊ะเป็นสีเขียวหรือสีขาว เมื่อโดนแสงอาจสะท้อนโดนหน้านักแสดง หรือวัตถุอื่นๆในฉากให้เกิดการเปลี่ยนสีได้ ดังนั้นจึงต้องระวังเรื่องแสงสะท้อน ทางที่ดีควรใช้สีเป็นสีขาวหม่นหรือสีเทา
CHAPTER 7...EDITING
การตัดต่อ (Editing)
Electronic
- Control track Editing
- Automatic Time code Editing
- Computerize Time code Editing
หลักพื้นฐาน
- Continuity
- Complexity
- Ethic
- Voice
- Voice over ( voice overlap )
- Voice off scene
- Sequence - การลำดับ Sequence ตามความเหมาะสมของขนาดภาพ
- สูตร Picture Sequence
- Direction & Meaning
- Position of shot
- Dynamic Cutting
- Narrative Cutting
- Montage Cutting
- Cross Cutting
- Parallel Cutting
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)